New Document









Tablet Splitting: Evaluating Appropriateness for Patients

บทความทางเภสัชศาสตร์ และบทความทั่วไป

Tablet Splitting: Evaluating Appropriateness for Patients

โพสต์โดย Philosophos » 16 พ.ค. 2007, 14:55

หลังจากที่ได้เฝ้ามองกระทู้นี้มาระยะเวลาหนึ่ง
http://www.pharmacafe.com/board/index.php/topic,18184.msg69439.html#new

ไม่เข้าใจเหมือนกันว่าทำไมต้องมาถกเถียงกันต่อหน้าผู้ป่วย และการถกเถียงกันก็ไม่ได้เกิดประโยชน์ทางวิชาการอันใดเลย
การโต้แย้งกันมีแต่ข้อคิดเห็นมากกว่าข้อมูลอ้างอิงทางวิชาการ การคิดวิเคราะห์ก็คับแคบ มองประเด็นเพียงไม่กี่ประเด็น
คนนอกมาอ่านแล้ว เค้าจะคิดต่อเภสัชกรอย่างไร ยิ่งในสถานการณ์ตอนนี้ที่บทบาทวิชาชีพเราก็ไม่ได้ชัดเจนอะไรในสังคม

เอาหล่ะไม่อยากจะเอ่ยความให้มากกว่านี้ เพราะเดี๋ยวอาจจะเป็นกระทู้เดือดขึ้นมาอีกกระทู้ก็เป็นได้ มาเข้าเรื่องกันดีกว่า

การแบ่งเม็ดยา บอกได้เลยว่าเป็นเรื่องที่ไม่ใช่จะมาฟังธงว่า ได้หรือไม่ได้ ดีหรือไม่ดี การแบ่งได้หรือไม่ได้นั้นต้องคำถึงถึงบริบทอย่างอื่นด้วย

สิ่งที่ควรพิจารณาได้แก่
1. ตัวผลิตภัณฑ์
2. โรค
3. ผู้ป่วย

1. ตัวผลิตภัณฑ์ ยาเม็ดมีรอยแบ่งหรือไม่ ยาเม็ดเป็นรูปแบบพิเศษหรือไม่ ยารูปแบบพิเศษบางชนิดก็แบ่งได้ ยาที่ไม่มีรอยแบ่ง การแบ่งยาจะยากกว่ายาที่มีรอยแบ่ง เพราะรูปร่างเม็ดยาไม่ได้ออกแบบมาให้แบ่งได้
หรือยาเม็ดที่เปราะและร่อนง่ายถ้าแบ่งอาจได้ยาไม่เท่ากัน อย่างไรก็ตามทั้งนี้ก็ต้องดูโรคที่รักษาด้วย ไม่เช่นนั้น paracetamol 500 แบ่งไม่เท่ากัน ก็คงไม่ต้องกินลดไข้ในเด็ก

2. โรค โรคบางโรคที่มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงยาเพียงเล็กน้อย การแบ่งยาอาจมีผลทำให้มีผลต่อการรักษาได้ เช่น ยา warfarin
หรือถ้าจำเป็นต้องแบ่งเพื่อปรับขนาดในกรณีที่ไม่มีขนาดยาในท้องตลาด ก็ควรหาอุปกรณ์ตัดเม็ดยาเพื่อให้ได้ปริมาณยาที่ใกล้เคียงกันมากที่สุด และติดตามพร้อมประเมินการใช้ยา ให้คำแนะนำที่ถูกต้องในการแบ่งยาแก่ผู้ป่วยด้วย
โรคบางโรค การเปลี่ยนแปลงขนาดยาจากการแบ่งเม็ดยาไม่มีผลต่อการรักษาโรค เช่น การแบ่งยา HMG CoA inhibtor ให้ผลการรักษาที่ไม่แตกต่างกับการรับประทานยาในขนาดเท่ากันกับเม็ดที่แบ่งครึ่ง
http://www.ncbi.nlm.nih.gov/entrez/query.fcgi?db=pubmed&cmd=Retrieve&dopt=AbstractPlus&list_uids=15950578&query_hl=1&itool=pubmed_docsum

3. ผู้ป่วย ผู้ป่วยสูงอายุที่ต้องรับประทานยาเอง ไม่มีผู้ดูแลในการแบ่งยา และมีปัญหาเกี่ยวกับโรคข้อ หรือ การเคลื่อนไหว อย่างเช่น โรคพาร์คินสัน การแบ่งยาเองก็อาจเป็นปัญหา แต่ถ้ามีผู้ดูแลแบ่งยาให้ก็คงไม่มีผลอะไร

ทักษะที่เภสัชกรพึงมีคือการค้นคว้าหาคำตอบและความรู้ใหม่ๆอยู่เสมอ ไม่ใช่มานั่งรอคำตอบ เราต้องตระหนักอยู่เสมอว่าวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
เรื่องโรคและการรักษาเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความรู้เมื่อวานกับวันนี้อาจเปลี่ยนไปจากหน้ามือเป็นหลังมือ มานั่งเถียงกันแบบนี้เมื่อไหร่จะวิ่งทันคนอื่นเขา

ที่กล่าวมาข้างต้น หวังว่ากระทู้ที่เป็นประเด็นถกเถียงกันคงจะได้คำตอบกันแล้ว ใครยังไม่ค่อยเคลียร์หรือต้องการรายละเอียดไปอ่านเพิ่มเติม
ผมได้นำไกด์ไลน์ในการแบ่งยาของสมาคมเสัชกรอเมริกันมาให้อ่านกัน ตอนแรกว่าจะทำลิ้งค์ไปเพราะกลัวเรื่องลิขสิทธิ์
แต่เวบที่ลิ้งค์ไปต้องสมัครสมาชิกก่อนจึงจะอ่านได้ ไม่สะดวกสำหรับใครหลายคนที่เพียงอยากแวะไปอ่าน จึงตัดสินใจเอามาโพสในนี้เลย
นอกจากนี้ยังมีบทความสั้นๆเอามาฝากด้วยเกี่ยวกับการแบ่งยาในแง่ของ Evidence-based medicine ซึ่งเป็นศาสตร์ที่นำมาใช้ในการตัดสินใจทางคลินิก (clinical dicision making)
แนบไฟล์
Tablet_splitting.pdf
(65.79 KiB) ดาวน์โหลด 5069 ครั้ง
แก้ไขล่าสุดโดย นิวัช เมื่อ 25 มิ.ย. 2008, 15:02, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง
"ชนใดไม่มีดนตรีกาล ในสันดานเป็นคนชอบกลนัก"
รูปภาพ
ภาพประจำตัวสมาชิก
Philosophos
 
โพสต์: 55
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2004, 19:01







Re: Tablet Splitting: Evaluating Appropriateness for Patients

โพสต์โดย Philosophos » 16 พ.ค. 2007, 15:14

From Journal of the American Pharmacists Association

Tablet Splitting: Evaluating Appropriateness for Patients

Tool for Pharmacists From the 2003-2004 APhA Strategic Directions Committee
Posted 06/10/2004

The idea of splitting tablets has centered on patients using a device to halve their drug costs. Health insurers are increasingly urging patients to buy higherstrength tablets and take half at a time. In fact, some are offering free tablet splitters to anyone who agrees to do this voluntarily. But for some patients tablet splitting is not easy or voluntary. Cutting dosage forms into even doses can be tricky, particularly for those who are elderly. Further, promoting half tablets could tempt some patients to split other drugs that should always be taken whole.

The American Medical Association and APhA formally oppose mandatory tablet splitting. Done correctly, splitting prescription tablets can save money. Done incorrectly, the practice can endanger patient health.

The Strategic Directions Committee (SDC) reviewed the available literature and input from practitioners regarding the impact of the splitting of tablets on patient care. The SDC developed questions for pharmacists and decision makers to consider when evaluating the appropriateness of tablet splitting for individual patients and products. The guidelines appear in Figures 1 and 2.

[img width=322 height=600]http://www.medscape.com/content/2004/00/47/98/479850/art-japha479850.fig1.jpg[/img]
Figure 1.  APhA Resource: Practice. Tool for Pharmacist Evaluation of Appropriateness of Tablet Splitting: Product Considerations

[img width=562 height=600]http://www.medscape.com/content/2004/00/47/98/479850/art-japha479850.fig2.jpg[/img]
Figure 2. APhA Resource: Practice. Tool for Pharmacist Evaluation of Appropriateness of Tablet Splitting: Patient Considerations

The Committee also recommends that the Food and Drug Administration and the United States Pharmacopeia study the splitting of tablets to provide data on the appropriateness of tablet splitting from a scientific basis.

APhA welcomes feedback on these policies. Comments or suggestions should be forwarded to APhA Staff Counsel and Vice President for Policy and Communications Susan C. Winckler, JD, at swinckler@aphanet.org.
Editor's note: The 2003-2004 Strategic Directions Committee of the American Pharmacists Association (APhA) discussed a number of patient safety issues facing pharmacists, including the increasing prevalence of tablet splitting. This is an excerpt of its report to the APhA Board of Trustees.

Acknowledgements

Members of APhA's 2003-2004 Strategic Directions Committee were Daniel A. Herbert, Chair; Loyd Allen, Bruce R. Canaday, Melinda C. Joyce, Bill Letendre, Karen L. Reed, Rod D. Shafer, Theodore G. Tong, and Andrew P. Traynor; Mitchel C. Rothholz and Susan C. Winckler, staff liaisons.

J Am Pharm Assoc 44(3):324-325, 2004. ? 2004 American Pharmacists Association
แนบไฟล์
art-japha479850.fig1.jpg
art-japha479850.fig2.jpg
แก้ไขล่าสุดโดย นิวัช เมื่อ 25 มิ.ย. 2008, 15:02, แก้ไขแล้ว 1 ครั้ง
"ชนใดไม่มีดนตรีกาล ในสันดานเป็นคนชอบกลนัก"
รูปภาพ
ภาพประจำตัวสมาชิก
Philosophos
 
โพสต์: 55
ลงทะเบียนเมื่อ: 14 ต.ค. 2004, 19:01

Re: Tablet Splitting: Evaluating Appropriateness for Patients

โพสต์โดย Mheeflash » 10 ต.ค. 2009, 16:51

มีข้อมูล review โดย อาจารย์ จันคนา บูรณะโอสถ และ อ.สรายุทธ์ จันทร์มหเสถียร เขียนไว้ดีมากครับ เข้าไปตาม link นี้เลย
http://oldweb.pharm.su.ac.th/thai/CE/datafiles/1-000-SPU-000-0704-01.pdf
Mheeflash
 
โพสต์: 51
ลงทะเบียนเมื่อ: 03 ต.ค. 2009, 00:33


ย้อนกลับไปยัง อาราบิก้า

ผู้ใช้งานขณะนี้

cron
New Document