New Document









สอบถาม case

สนทนาวิชาการและปัญหาการใช้ยา
กรณีที่ผู้ถามไม่ใช่บุคลากรทางการแพทย์ กรุณาแจ้งเพื่อการตอบคำถามที่เหมาะสมกับท่าน

สอบถาม case

โพสต์โดย kenijikoong » 13 ธ.ค. 2011, 16:16

มีผู้ป่วยส่งต่อมาจาก รพ.อีกแล้ว
ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 42 ปี BW 42 kg. มารถนอน
Dx.
Basal ganglia hemorrhage S/P craniectomy
TB Lung + Mening
DM with HT
ยาที่ได้รับมีดังนี้
- Gliben 5 mg. 1*2 ac
- Prazosin 2 mg. 1*4
- Propranolol 10 mg. 1*3 pc
- Nifedipine 5 mg. 1*4
- Enalapril 5 mg. 1*3 pc
- INH 100 mg. 3*hs
- Ethambutol 400 mg. 2*hs
- PZA 500 mg. 3*hs
- Vit b1-6-12 1*3 pc

ข้อมูลเพิ่มเติม
BP แรกรับ 150/90 mmHg
BUN/Cr = 13.0/0.4

ข้อสงสัยคือทำไมในรายนี้ถึงต้องให้ Enalapril เป็น 1*3 เพราะเมื่อดูจาก Pharmacodynamics/Kinetics ของยาก็น่าจะให้เป็น OD หรือ BID ก็พอ

Pharmacodynamics/Kinetics ของยา Enalapril
Onset of action: Oral: ~1 hour; I.V.: ≤15 minutes
Peak effect: Oral: 4-6 hours; I.V.: 1-4 hours
Duration: Oral: 12-24 hours; I.V.: ~ 6 hours
Absorption: Oral: 55% to 75%
Protein binding: 50% to 60%
Metabolism: Prodrug, undergoes hepatic biotransformation to enalaprilat
Half-life elimination:
Enalapril: Adults: Healthy: 2 hours; Congestive heart failure: 3.4-5.8 hours
Enalaprilat: Infants 6 weeks to 8 months of age: 6-10 hours; Adults: 35-38 hours
Time to peak, serum: Oral: Enalapril: 0.5-1.5 hours; Enalaprilat (active): 3-4.5 hours
Excretion: Urine (60% to 80%); some feces
kenijikoong
 
โพสต์: 55
ลงทะเบียนเมื่อ: 19 เม.ย. 2009, 12:54







Re: สอบถาม case

โพสต์โดย kenijikoong » 13 ธ.ค. 2011, 16:17

ลืมยาอีกตัว คือ Rifampicin 450 mg. 1*hs
kenijikoong
 
โพสต์: 55
ลงทะเบียนเมื่อ: 19 เม.ย. 2009, 12:54

Re: สอบถาม case

โพสต์โดย DKNY » 13 ธ.ค. 2011, 18:13

เพิ่มเติมนะครับ
enalapril สามารถใช้dose = 10-40 mg/day
แต่ถ้าให้ 1*3 ก็น่าจะเพราะต้องการให้ยามี maximum peak ตลอด เพื่อคุมความดัน
และอาจเนื่องมาจากผู้ป่วย TB on Rifampicin ด้วย ซึ่ง Rifampicin มักเกิด enzyme inducer กับยาอื่นๆได้ง่าย
ทำให้ยาอื่นๆถูกขจัดออกจากร่างกายได้ไวกว่าปกติครับ
ยาอาจไม่ถึงระดับที่ควบคุมคามดันได้ จึงต้องบริหารยาให้บ่อยขึ้นครับ
และเพื่อให้ออกฤทธิ์ร่วมกับ propranolol ได้ 1*3 เวลาเหมือนกัน
รูปภาพ


รูปภาพ
ภาพประจำตัวสมาชิก
DKNY
 
โพสต์: 519
ลงทะเบียนเมื่อ: 17 พ.ค. 2011, 01:25

Re: สอบถาม case

โพสต์โดย kenijikoong » 13 ธ.ค. 2011, 21:52

การเกิด D/I ระหว่าง Enalapril กับ Rifampicin

1) Interaction Effect: decreased enalapril effectiveness

2) Summary: In a case report, the addition of rifampin in a patient stabilized on enalapril resulted in an increase in blood pressure and a reduced enalapril area under the concentration-time curve by about 30%. More studies are required to evaluate this interaction and its potential mechanisms [504].
[504]
3) Severity: moderate

4) Onset: delayed

5) Substantiation: probable

6) Clinical Management: Monitor for continuing blood pressure control after the addition or withdrawal of rifampin, adjusting the enalapril dose to regain control. Substitution of an alternative ACE inhibitor or a different class of antihypertensive agent may be required for blood pressure control.

7) Probable Mechanism: increased metabolism of enalapril

8) Literature Reports
a) Concomitant administration of oral rifampin and oral enalapril resulted in a reduction in the hypotensive efficacy of enalapril in a 35-year-old male with hypertension and brucellosis [503]. The patient was maintained on chronic therapy with enalapril 15 mg twice a day while rifampin 300 mg twice a day was added in a regimen with streptomycin and oxytetracycline for brucellosis. Rifampin appeared to reduce the area under the plasma concentration-time curve (AUC) of enalapril by 30%, therefore, it was suggested that rifampin enhanced the renal clearance of the active metabolite. More studies are required to evaluate this interaction and its potential mechanisms.
kenijikoong
 
โพสต์: 55
ลงทะเบียนเมื่อ: 19 เม.ย. 2009, 12:54

Re: สอบถาม case

โพสต์โดย SinWiSuth » 13 ธ.ค. 2011, 22:28

สรุปแล้ว principle diagnosis คืออะไรอ่ะครับ ?
- Prazosin ปกติไม่ได้ให้กันถึง 4 ครั้งเช่นกันนะครับ อย่างมากแค่วันละ 3 ครั้งเท่านั้น
- Propranolol ตาม JNC ขนาดนี้ต่ำไป ถ้าอยากให้ ควรเพิ่มขนาดและให้แค่วันละ 2 ครั้ง (หากเพิ่มขนาดน่าจะสามารถตัดยาที่ไม่จำเป็นออกได้บ้่างตัว เพราะคิดว่าได้ยาความดันมากชนิด ในลักษณะที่ได้แต่ละตัวในขนาดน้อยๆ)
- Nifedipine(5) 1x4 ????
- Enalapril นั่นแหละครับ ให้มากไปนะครับ วันละ 3 ครั้ง

ในความเห็นผมคือ ให้ยามากชนิดโดยไม่จำเป็น น่าจะให้แค่สองสามชนิดแล้วปรับขนาดให้เต็มที่ก่อนครับ
ความถี่ในการบริหารไม่เหมาะสมหลายตัว
ถ้าเป็นผม ผม suggest ตามนี้ครับ
ส มั น ต ภั ท ร ::: เภ สัช ม อ นอ รุ่น เก้า
SinWiSuth
 
โพสต์: 319
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2009, 06:27
ที่อยู่: Phisanulok

Re: สอบถาม case

โพสต์โดย kenijikoong » 13 ธ.ค. 2011, 23:32

consult ไปแล้วครับ แต่ก็ยังยืนยันตาม รพ.ศูนย์ ปัญหาต่อมาคือ ผู้ป่วยเกิด hypy k+ (6.2)
kenijikoong
 
โพสต์: 55
ลงทะเบียนเมื่อ: 19 เม.ย. 2009, 12:54

Re: สอบถาม case

โพสต์โดย SinWiSuth » 14 ธ.ค. 2011, 10:34

ตอนนี้น่าจะต้องหยุด enelapril ไปก่อนนะครับ เนื่องจากมี hyperkalemia
ต่อมาก็ลองดูว่าเพิ่งเริ่ม on หรือปรับขนาดยาหรือเปล่าครับ
การปรับขนาดยาเร็วไป เนื่องจากไตปรับตัวไม่ทันก็มักจะเกิด hyperkalemia
การให้ยาในขนาดสูงๆ ก็มักจะเกิด เพราะเป็น dose dependent

หลังจากผู้ป่วย stable ดี ระดับ potassium ลดลงน้อยกว่า 5 สักระยะ
ก็เริ่มยาใหม่ได้ครับ แต่ให้เริ่มในขนาดต่ำ และปรับขนาดยาช้าๆ
นอกจากนี้ก็แนะนำให้ควบคุม potassium ในอาหาร ร่วมด้วย

ARBs อาจจะมี hyperkalemia ต่ำกว่า แต่ expert หลายคนก็คิดว่าไม่ได้ significant ครับ
ส มั น ต ภั ท ร ::: เภ สัช ม อ นอ รุ่น เก้า
SinWiSuth
 
โพสต์: 319
ลงทะเบียนเมื่อ: 24 พ.ค. 2009, 06:27
ที่อยู่: Phisanulok


ย้อนกลับไปยัง มอคค่า

ผู้ใช้งานขณะนี้

New Document